วันที่จะต้องปิดคอร์ดแล้วจึงต้องตั้งใจเรียนกันหน่อยแล้ว ซึ่งในการเรียนในวันนี้ก็สามารถสรุปได้ดังนี้ค่ะเทคนิคการสอนภาษาการฟังและการการพูดเป็นพื้นฐานของการอ่านและการเขียนครูสามารถประเมินผลการสอนของตนเองจากเด็กได้ง่ายๆแนวคิดพื้นฐาน
1.ต้องรู้ธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็ก
2.ประสบการณ์ทางภาษาเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
3.เชื่อว่าเด็กสามารถเรียนรู้ได้
4.เด็กจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดถ้าสอนเเบ whole Language
5.เด็กจะเรียนรู้ได้ดีถ้าได้ตัดสินใจด้วยตนเอง
6.ให้เด็กรู้สึกว่าเขาเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
7.ไม่ให้เด็กรู้สึว่าถูกเเข็งขัน8.ครูต้องสอนทักษะไปพร้อมๆกัน
9.ทำให้การเรียนภาษาของเด็กเป็นสิ่งที่น่าสนใจ
ควรสอนภาษาเด็กอย่างไร
1.เริ่มจากสิ่งที่เด็กสนใจ
2.ใช้การประเมินที่เหมาะสม
3.เสนอความคิดต่อผู้กครอง
4.ส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้อย่างกระตือร้น
5.สร้างความรู้สึกสำเร็จ
6.ให้เด็กได้อ่านในสิ่งที่คุ้นเคย
7.อ่านให้เด็กฟังจากแหล่งต่างๆ
8.จัดปะสบการณ์การอ่านและส่งเสริมให้เด็กได้ลงมือกระทำ
9.ส่งเสริมให้เด็กรู้จจักเสี่ยง
10.พัฒนาทางด้านจิตพิสัยตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมการพูด- อธิบายหรือเล่าถึงภาพที่เห็น-ทำท่าทางประกอบการพูด-เล่านิทาน-ลำดับเรื่องตามนิน-เรียงชื่อตามนิทาน-เรียกชื่อและอธิบายลักษณะสิ่งของ-จำและอธิบายสิ่งของ-อธิบายขนาดและสีของสิ่งของตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมการฟัง- ฟังประกอบหุ่น-ฟังและเเยกเสียง-ฟังเสียงคำคล้องจอง-ฟังอย่างสร้างสรรค์และวิจารณ์สำหรับในการเรียนในวันนี้ก็สามารถสรุปได้เพียงเท่านี้ค่ะ.....
สื่อการสอนประสบการณ์ทางภาษา
สอนภาษาผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์
ดูงาน อนุบาลสามเสน
สวัสดีค่ะ วันที่ 14 มกราคม 2552 ที่ผ่านมา พวกเราได้ไปศึกษาดูงานที่โรงเรียนอนุบาลสามเสน ซึ่งมีการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ให้กับเด็กๆ ซึ่งมีโต๊กิจกรรม 4 โต๊ะ คือ วาดภาพด้วยสีเทียน งานประดิษฐ์ ปั้นแป้งโด เด็กก็ทำงานศิลปะอย่างสนุกสนาน เมื่อทำเสร็จเรียบร้อยเด็กๆก็นำผลงานไปส่งให้คุณครูและบอกชื่อผลงานและเรื่องราวที่อยู่ในภาพ ซึ่งเป็นการสอนสิลปะไปในตัวอีกด้วย
และในตอนบ่ายเราก็ได้เข้าร่วมสัมนาเกี่ยวกับเด็กปฐมวัยซึ่งเราได้ความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยมามากมายเลยทีเดียว ไม่ว่า จะเป็น กิจกรรมหลัก 6กิจกรรม เทคนิคการสอนในแต่ละกิจกรรมซึ่งจะเป็นประโยชน์มากมายในการฝึกสอนในโอกาศต่อไป........
วันศุกร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2552
การเชิดหุ่น
สวัสดีค่ะบทความนี้ก็คงจะบทบทความสุดท้ายของปีการศึกษานี้ก็คงจะได้เจอกันใน ปีการศึกษาหน้า ซึ่งบันทึกนี้จะได้พูดถึงการเชิดหุ่น เรื่องที่กลุ่มขงพวกเรานำมาเเสดงก็คือ "เธอตัวเล็กไปนะ" ซึ่งพวกเราก็ตั้งใจทำกันอย่างเต็มที่ ถึงแแม้ว่าจะออกมาอย่างที่เห็นบางคั้งอาจจะไม่ค่อยดี เท่าที่ควร เเต่พวกเราก็ทำกันอย่างเต็มที่แล้ว เท่าที่พวกเราจะทำได้
สำหรับการเชิดหุ่นเป็นการสื่อในการสอนภาษาให้กับเด็กได้ โดยหุ่นจะทำให้นิทานมีชีวิตชีวาชึ้น มาซึ่งจะทำให้เด็กสนุกสนานและไ้ภาษาไปในตัว ซึ่งการดูการเเสดงเด็กๆจะได้ทักษะในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็น ฟัง พูด อ่าน เขียน และยังได้พัฒนาพัฒนาการทั้ง 4 ด้านอีกด้วย
สำหรับการเชิดหุ่นเป็นการสื่อในการสอนภาษาให้กับเด็กได้ โดยหุ่นจะทำให้นิทานมีชีวิตชีวาชึ้น มาซึ่งจะทำให้เด็กสนุกสนานและไ้ภาษาไปในตัว ซึ่งการดูการเเสดงเด็กๆจะได้ทักษะในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็น ฟัง พูด อ่าน เขียน และยังได้พัฒนาพัฒนาการทั้ง 4 ด้านอีกด้วย
วันศุกร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2552
บันทึกการเรียนวันที่ 7มกราคม 2552
สวัสดีค่ะในวันพุธที่ผ่านมานี้นะค่ะดิฉันได้เรียนการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยเรามาดูเนื้อหาที่เรียนกันเลยนะค่ะ
ระยะที่ 3 เป็นระยะที่เด็กเริ่มใช้ลักษณะการออกเสียงในขณะเขียนและการเขียนของเด็กเริ่มใกล้เคียงกับการเขียนตามแบบแผน
ในที่สุดเด็กสามารถเข้าใจหลักการเขียนหนังสือในภาษาของตนเองได้ เช่น เด็กเขียนอธิบายลักษณะบ้านแม่มด โดยเขียนคำว่าบ้านได้ถูกต้อง
เด็กใช้พยัญชนะขึ้นต้นแต่ละคำแทนคำต่าง ๆ ตามตัวอย่างที่กล่าวมาทั้งหมดนั้นย่อมแสดงให้เห็นว่า เด็ก ๆ รู้ดีว่าการเขียนเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับภาษา
เด็กต้องใช้ความพยายามพอสมควรที่จะค้นหาลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างการเขียนและภาษา
การจัดสภาพแวดล้อม
จัดให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระและกิจกรรมโดยการจัดสันที่ภายในห้องเรียนที่สามารถตอบสนองความต้องการในการเรียนของเด็กที่มีความแตกต่างหลากหลายได้
การสร้างประสบการณ์และความพร้อมในการเรียนของแต่ละกลุ่มความสนใจ
การจัดห้องเรียนควรเป็นสถานที่ที่เด็กได้อยู่ในโลกของภาษาตัวหนังสือ สัญลักษณ์ที่มีความหมายต่อเรื่องที่เรียน มีมุมที่เด็กสนใจ โดยเด็กสามารถเข้าไปเรียนรู้ซึมซับภาษาได้ตลอดเวลา
การจัดสภาพแวดล้อมในมุมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการใช้ภาษาอย่างมีความหมายต่อเด็ก
มุมบ้าน เด็กจะเข้ามาในบ้านพูดคุยเล่นกัน มีการสื่อสารกันในการทำกิจกรรมต่างๆ เช่น รีดเสื่อผ้า ล้างชามในครัว ซึ่งช่วยให้เด็กพัฒนาตนเอง ได้เรียนรู้จากเพื่อน เตรียมกระดาษดินสอ ให้บันทึกข้อความจากการโทรศัพท์ถึงคุณแม่คุณพ่อ มีการจดรายการเตรียมไปจ่ายตลาดกับคุณแม่
มุมหมอ เด็กจะได้เล่นบทบามสมมุติเป็นหมอเป็นคนใข้ ฝึกการใช้ภาษาในการอธิบายอาการป่วย ใช้ภาษาสื่อสารกับคุณหมอ พยาบาล มีการนัดหมายกับหมอ โดยจดการนัดหมายลงในสมุด
มุมตลาด เด็กจะได้ฝึกการสนทนาสื่อสาร โต้ตอบระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย ใช้เครื่องมือชั่งนำหนัก ตวงวัด ปริมาณ คำนวณเงินในการจ่าย ทอนเงิน
มุมจลาจล เด็กได้เรียนรู้สัญลักษณ์จลาจร การปฏิบัติตามสัณญาณไฟจราจร
มุมที่ดีครูจัดสภาพแวดล้อม จัดวางกระดาษ ดินสอ อุปกรณ์ หนังสือ ขั้นตออนการทำงานไว้ชัดเจน แล้วเด็กจะเข้าไปเล่นเรียนรู้ได้เองทั้งที่ต้องการและไม่ต้องการ
กระบวนการเรียนรู้แบบธรรมชาติตามวัยวุฒิของเด็ก
ครูต้องมีความเชื่อมั่น และไว้วางใจในตัวเด็กว่าเขาสามารถทำงานต่าง ๆ ได้ ถ้ามีฉันทะเกิดขึ้นแล้ว พฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กจะเกิดขึ้นเองซึ่งครูทุกคนต้องสังเกตุตลอดเวลา ให้เกิดเป็นประสบการณ์ตรงของครู สร้างองค์ความรู้ด้าพัฒนาการ
ระยะที่ 3 เป็นระยะที่เด็กเริ่มใช้ลักษณะการออกเสียงในขณะเขียนและการเขียนของเด็กเริ่มใกล้เคียงกับการเขียนตามแบบแผน
ในที่สุดเด็กสามารถเข้าใจหลักการเขียนหนังสือในภาษาของตนเองได้ เช่น เด็กเขียนอธิบายลักษณะบ้านแม่มด โดยเขียนคำว่าบ้านได้ถูกต้อง
เด็กใช้พยัญชนะขึ้นต้นแต่ละคำแทนคำต่าง ๆ ตามตัวอย่างที่กล่าวมาทั้งหมดนั้นย่อมแสดงให้เห็นว่า เด็ก ๆ รู้ดีว่าการเขียนเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับภาษา
เด็กต้องใช้ความพยายามพอสมควรที่จะค้นหาลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างการเขียนและภาษา
การจัดสภาพแวดล้อม
จัดให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระและกิจกรรมโดยการจัดสันที่ภายในห้องเรียนที่สามารถตอบสนองความต้องการในการเรียนของเด็กที่มีความแตกต่างหลากหลายได้
การสร้างประสบการณ์และความพร้อมในการเรียนของแต่ละกลุ่มความสนใจ
การจัดห้องเรียนควรเป็นสถานที่ที่เด็กได้อยู่ในโลกของภาษาตัวหนังสือ สัญลักษณ์ที่มีความหมายต่อเรื่องที่เรียน มีมุมที่เด็กสนใจ โดยเด็กสามารถเข้าไปเรียนรู้ซึมซับภาษาได้ตลอดเวลา
การจัดสภาพแวดล้อมในมุมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการใช้ภาษาอย่างมีความหมายต่อเด็ก
มุมบ้าน เด็กจะเข้ามาในบ้านพูดคุยเล่นกัน มีการสื่อสารกันในการทำกิจกรรมต่างๆ เช่น รีดเสื่อผ้า ล้างชามในครัว ซึ่งช่วยให้เด็กพัฒนาตนเอง ได้เรียนรู้จากเพื่อน เตรียมกระดาษดินสอ ให้บันทึกข้อความจากการโทรศัพท์ถึงคุณแม่คุณพ่อ มีการจดรายการเตรียมไปจ่ายตลาดกับคุณแม่
มุมหมอ เด็กจะได้เล่นบทบามสมมุติเป็นหมอเป็นคนใข้ ฝึกการใช้ภาษาในการอธิบายอาการป่วย ใช้ภาษาสื่อสารกับคุณหมอ พยาบาล มีการนัดหมายกับหมอ โดยจดการนัดหมายลงในสมุด
มุมตลาด เด็กจะได้ฝึกการสนทนาสื่อสาร โต้ตอบระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย ใช้เครื่องมือชั่งนำหนัก ตวงวัด ปริมาณ คำนวณเงินในการจ่าย ทอนเงิน
มุมจลาจล เด็กได้เรียนรู้สัญลักษณ์จลาจร การปฏิบัติตามสัณญาณไฟจราจร
มุมที่ดีครูจัดสภาพแวดล้อม จัดวางกระดาษ ดินสอ อุปกรณ์ หนังสือ ขั้นตออนการทำงานไว้ชัดเจน แล้วเด็กจะเข้าไปเล่นเรียนรู้ได้เองทั้งที่ต้องการและไม่ต้องการ
กระบวนการเรียนรู้แบบธรรมชาติตามวัยวุฒิของเด็ก
ครูต้องมีความเชื่อมั่น และไว้วางใจในตัวเด็กว่าเขาสามารถทำงานต่าง ๆ ได้ ถ้ามีฉันทะเกิดขึ้นแล้ว พฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กจะเกิดขึ้นเองซึ่งครูทุกคนต้องสังเกตุตลอดเวลา ให้เกิดเป็นประสบการณ์ตรงของครู สร้างองค์ความรู้ด้าพัฒนาการ
วันพฤหัสบดีที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2552
บันทึกการเข้าเรียน วันที่ 19 ธันวาคม 2551
สวัสดีค่ะวันนี้ เนื่องจากวันพุธ ที่ 17 ธันวาคม 2551 ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากติดสอบกลางภาค ดังนั้นพวกเราจึงไม่ได้เรียน วิชากรจัดประสบการณ์ทางภาษา แต่พวกเราก็ได้มาเรียนในวันศุกร์ แต่บรรยากาศในการเรียนวันนี้ค่อนข้างที่จะสบสนวุ่นวาย เนื่องจากอยู่หน้าคอมพ์ดังนั้นจึงไม่ค่อยที่จะมีใครฟังที่อาจารย์สอนเท่าไหร่นัก บางคนเล่น hi 5 บางคนดูเวปอะไรก็แล้วแต่จะดูกันไป จึงทำให้การเรียนในวันนี้ข้าพเจ้ารู้สึกว่าไม่ค่อยจะเข้าใจอะไรเลย เนื่องจากไม่ค่อยได้ฟังอาจารย์อธิบา.แต่ข้าพเจ้าก้พอที่จะสรุปเป็นความรู้ได้ดังนี้
ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทางภาษาแบบองค์รวมอ่าน
เขียน เน้นความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท่องจำตัวหนังสือผ่านการฟังนิทาน เรื่องราวสนทนาโต้ตอบ คิดวิเคราะห์ร่วมกับครูหรือผู้ใหญ่- การคาดคะเนโดยการเดาในขณะอ่าน เขียน และสะกด เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติ โดยไม่จำเป็นต้องอ่านหรือสะกดถูกต้องทั้งหมดมีหนังสือ วัสดุสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ให้เด็กเป็นผู้เลือก เพื่อได้รับประสบการณ์ทางภาษาอย่างหลากหลาย-ครูแนะนำและสอนอ่านในกลุ่มที่ไม่ใหญ่มากโดยใช้หนังสือเล่มใหญ่ที่เห็นชัดเจนทั่วกัน ให้เด็กแบ่งกลุ่มเล็กๆผลัดกันอ่านด้วยการออกเสียงดังๆ-ครูสอนการอ่านอย่างมีความหมายด้วยความสนุกสนานในกลุ่มย่อย สอนให้รู้จักวิธีการใช้หนังสือการเปิดหนังสืออย่างถูกต้อง เปิดโอกาสให้เด็กพูดคุย ซักถามจากประสบการณ์เดิมซึ่งครูสามารถประเมินความสามารถการอ่านของเด็กแต่ละคนไปด้วยพร้อมกัน ให้เด็กแต่ละคนมีโอกาสเลือกอ่านหนังสือที่ชอบและยืมไปนั่งอ่านเงียบ ๆ-ให้เด็กได้เขียน ขีดเขี่ย วาดภาพ ถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้จากประสบการณ์ ความประทับใจ อย่างอิสระ ครูตรวจสอบสภาพการเขียนของเด็กแต่ละคนโดยการให้เด็กเล่าสิ่งที่เขียนหรือวาดให้ครูฟัง โดยครูอาจแนะนำการเขียนที่ถูกต้อง เพื่อให้เด็กพัฒนาการเขียนได้ด้วยตัวเด็กเองทุกวันโดยไม่มุ่งแก้คำผิดหรือทำลายความอยากเขียนของเด็ก
ความเชื่อมโยงภาษาพูดกับภาษาเขียน
ภาษาพูดกับภาษาเขียนมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันโดย ความรู้เกี่ยวกับคำจะเพิ่มพูนมากขึ้นเมื่อเราพูด เล่า สนทนาโต้ตอบกัน เราอ่านจากหนังสือประเภทต่าง ๆ อ่านจากป้ายในทุกหนทุกแห่งที่สนใจ จะทำให้เด็กมีโอกาสเรียนรู้เรื่องราวต่างๆไปพร้อมๆกันและช่วยให้เด็กมี ความรู้เพิ่มพูนขึ้น ทักษะการสนทนาจะพัฒนามากขึ้น ด้วยการพูดคุยกับพ่อแม่ เพื่อน ครู ในสถานการณ์หรือเรื่องราวที่มีความสัมพันธ์กับตัวเด็ก เมื่อเด็กได้รับโอกาสในการแสดงออกโดยการพูด เด็กจะได้เรียนรู้จากสิ่งที่ได้ยินได้ฟัง จากสิ่งที่ผู้ใหญ่อ่านให้ฟัง ซึ่งเด็กนำไปใช้เพื่อการสื่อสาร หรือแสดงความรู้สึกนึกคิดออกมาในการดำเนินชีวิตประจำวันซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรู้ความหมายในภาษาเขียน จุดสำคัญการส่งเสริมและพัฒนาภาษาคือการที่ผู้ใหญ่อ่านหนังสือให้เด็กฟัง ในขณะที่ครูอ่านไป เด็กจะมองตามตัวหนังสือและมักจะพยายามหาความหมายไปด้วยจากภาพหรือจากตัวหนังสือ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของพฤติกรรมการรู้หนังสือ…และอาจารย์ยังได้เสริมถึงเรื่องกิจกรรมที่จะส่งเสริมให้เด็กมีการเรียนรู้ทางภาษาได้เช่น
1.การเล่าสิ่งที่ตนเองรัก
2.การเล่าข่าวหรือกิจกรรมที่ตนเองได้ไปพบเจอมา
ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทางภาษาแบบองค์รวมอ่าน
เขียน เน้นความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท่องจำตัวหนังสือผ่านการฟังนิทาน เรื่องราวสนทนาโต้ตอบ คิดวิเคราะห์ร่วมกับครูหรือผู้ใหญ่- การคาดคะเนโดยการเดาในขณะอ่าน เขียน และสะกด เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติ โดยไม่จำเป็นต้องอ่านหรือสะกดถูกต้องทั้งหมดมีหนังสือ วัสดุสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ให้เด็กเป็นผู้เลือก เพื่อได้รับประสบการณ์ทางภาษาอย่างหลากหลาย-ครูแนะนำและสอนอ่านในกลุ่มที่ไม่ใหญ่มากโดยใช้หนังสือเล่มใหญ่ที่เห็นชัดเจนทั่วกัน ให้เด็กแบ่งกลุ่มเล็กๆผลัดกันอ่านด้วยการออกเสียงดังๆ-ครูสอนการอ่านอย่างมีความหมายด้วยความสนุกสนานในกลุ่มย่อย สอนให้รู้จักวิธีการใช้หนังสือการเปิดหนังสืออย่างถูกต้อง เปิดโอกาสให้เด็กพูดคุย ซักถามจากประสบการณ์เดิมซึ่งครูสามารถประเมินความสามารถการอ่านของเด็กแต่ละคนไปด้วยพร้อมกัน ให้เด็กแต่ละคนมีโอกาสเลือกอ่านหนังสือที่ชอบและยืมไปนั่งอ่านเงียบ ๆ-ให้เด็กได้เขียน ขีดเขี่ย วาดภาพ ถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้จากประสบการณ์ ความประทับใจ อย่างอิสระ ครูตรวจสอบสภาพการเขียนของเด็กแต่ละคนโดยการให้เด็กเล่าสิ่งที่เขียนหรือวาดให้ครูฟัง โดยครูอาจแนะนำการเขียนที่ถูกต้อง เพื่อให้เด็กพัฒนาการเขียนได้ด้วยตัวเด็กเองทุกวันโดยไม่มุ่งแก้คำผิดหรือทำลายความอยากเขียนของเด็ก
ความเชื่อมโยงภาษาพูดกับภาษาเขียน
ภาษาพูดกับภาษาเขียนมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันโดย ความรู้เกี่ยวกับคำจะเพิ่มพูนมากขึ้นเมื่อเราพูด เล่า สนทนาโต้ตอบกัน เราอ่านจากหนังสือประเภทต่าง ๆ อ่านจากป้ายในทุกหนทุกแห่งที่สนใจ จะทำให้เด็กมีโอกาสเรียนรู้เรื่องราวต่างๆไปพร้อมๆกันและช่วยให้เด็กมี ความรู้เพิ่มพูนขึ้น ทักษะการสนทนาจะพัฒนามากขึ้น ด้วยการพูดคุยกับพ่อแม่ เพื่อน ครู ในสถานการณ์หรือเรื่องราวที่มีความสัมพันธ์กับตัวเด็ก เมื่อเด็กได้รับโอกาสในการแสดงออกโดยการพูด เด็กจะได้เรียนรู้จากสิ่งที่ได้ยินได้ฟัง จากสิ่งที่ผู้ใหญ่อ่านให้ฟัง ซึ่งเด็กนำไปใช้เพื่อการสื่อสาร หรือแสดงความรู้สึกนึกคิดออกมาในการดำเนินชีวิตประจำวันซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรู้ความหมายในภาษาเขียน จุดสำคัญการส่งเสริมและพัฒนาภาษาคือการที่ผู้ใหญ่อ่านหนังสือให้เด็กฟัง ในขณะที่ครูอ่านไป เด็กจะมองตามตัวหนังสือและมักจะพยายามหาความหมายไปด้วยจากภาพหรือจากตัวหนังสือ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของพฤติกรรมการรู้หนังสือ…และอาจารย์ยังได้เสริมถึงเรื่องกิจกรรมที่จะส่งเสริมให้เด็กมีการเรียนรู้ทางภาษาได้เช่น
1.การเล่าสิ่งที่ตนเองรัก
2.การเล่าข่าวหรือกิจกรรมที่ตนเองได้ไปพบเจอมา
วันศุกร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2551
บันทึกการเข้าเรียน วันที่ 3 ธันวาคม 2551
สวัสดีค่ะวันนี้เรียนการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย มาดูกันนะค่ะว่าเรียนอะไรบ้าง
กระบวนการ
บรรยากาศการเรียน มีลักษณะของความร่วมมือกันระหว่างครูและเด็ก ๆ ตั้งแต่การวางแผน คือคิดด้วยกันว่าจะทำอะไร ทำเมื่อไร ทำอย่างไร จำเป็นต้องใช้วัสดุอุปกรณ์อะไร จะหาสิ่งที่ต้องการมาได้อย่างไร และใครจะช่วยทำงานในส่วนใด
การวางแผนจะมีทั้งระยะยาว (long - range plans) เพื่อวางกรอบความคิดกว้าง
แผนระยะสั้น (short range plans) โดยเด็กและครูจะใช้ความคิดพูดคุยปรึกษากันเพื่อหา รายละเอียดและขั้นตอนในการทำกิจกรรม
การฟังและการพูดของเด็ก
เด็กมีโอกาศได้ยินเสียงแม่พูด แม้ว่ายังพูดไม่ได้ เด็กเกิดการเรียนรู้ทางภาษาพูดเพราะการสอนเด็กให้พูดนั้น เด็กจำเป็นต้องได้ยิน ได้ฟังภาษาพูดก่อน ยิ่งได้ฟังมากจะเข้าใจชัดเจนขึ้น
เด็กวัย 2-3 ขวบ การพูดของแม่จะช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางภาษาที่ดี การสนทนา การซักถาม เกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน เช่น สิ่งจำเป็นในการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ในด้านการเข้าใจความหมายของภาษาจากเรื่องง่ายไปจนถึงเรื่องที่ยาก และสลับซับซ้อนมากขึ้น
ภาษามีบทบาท ในการสื่อความคิดรวมไปถึงจินตนาการ เพื่อตอบสนองความต้องการของตนได้เป็นอย่างดี
การอ่านและการเขียน
การอ่านหนังสือให้เด็กฟังทุกวันเป็นสิ่งจำเป็นในการให้โอกาศเด็กเรียนรู้เพื่อพัฒนาภาษาเขียน ขณะที่อ่านควรชี้นิ้วตามตัวหนังสือประกอบไปด้วย ทำให้เด็กเรียนรู้กฎเกณฑ์ทุกขั้นตอน สิ่งที่สำคัญคือ การให้เด็กเรียนรู้ที่จะเข้าใจประเด็น ในเรื่องที่อ่านว่าสิ่งที่ประกอบกันขึ้นทั้งหมดคือรวมที่จะเป็นเนื้อหาที่จะเสนอระบบการคิดผ่านไวยากรณ์ของภาษา
ควรสนทนากับเด็กเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ทางภาษาอย่างง่าย ๆ เนื้อหาที่อ่านควรสัมผัสกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัวและพยายามเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของเด็กตลอดเวลาเพื่อให้เห็นประโยชน์และความเกี่ยวพันของภาษาเขียนกับชีวิตจริงจึงได้กล่าวว่า การเขียนหมายถึงการสื่อสารเพื่อแสดงความคิดความรู้สึกออกมาอย่างมีความหมาย
ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทางภาษาแบบองค์รวม อ่าน - เขียน
- เขียนความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท่องจำตัวหนังสือผ่านการฟังนิทาน เรื่องราว สนทนา โต้ตอบ คิดเคราะห์ร่วมกับครูหรือผู้ใหญ่
-การคาดคะเน โดยการเดาในขณะเขียน - อ่านและสกดเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องอ่าน หรือสะกดถูกต้องทั้งหมด
กระบวนการ
บรรยากาศการเรียน มีลักษณะของความร่วมมือกันระหว่างครูและเด็ก ๆ ตั้งแต่การวางแผน คือคิดด้วยกันว่าจะทำอะไร ทำเมื่อไร ทำอย่างไร จำเป็นต้องใช้วัสดุอุปกรณ์อะไร จะหาสิ่งที่ต้องการมาได้อย่างไร และใครจะช่วยทำงานในส่วนใด
การวางแผนจะมีทั้งระยะยาว (long - range plans) เพื่อวางกรอบความคิดกว้าง
แผนระยะสั้น (short range plans) โดยเด็กและครูจะใช้ความคิดพูดคุยปรึกษากันเพื่อหา รายละเอียดและขั้นตอนในการทำกิจกรรม
การฟังและการพูดของเด็ก
เด็กมีโอกาศได้ยินเสียงแม่พูด แม้ว่ายังพูดไม่ได้ เด็กเกิดการเรียนรู้ทางภาษาพูดเพราะการสอนเด็กให้พูดนั้น เด็กจำเป็นต้องได้ยิน ได้ฟังภาษาพูดก่อน ยิ่งได้ฟังมากจะเข้าใจชัดเจนขึ้น
เด็กวัย 2-3 ขวบ การพูดของแม่จะช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางภาษาที่ดี การสนทนา การซักถาม เกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน เช่น สิ่งจำเป็นในการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ในด้านการเข้าใจความหมายของภาษาจากเรื่องง่ายไปจนถึงเรื่องที่ยาก และสลับซับซ้อนมากขึ้น
ภาษามีบทบาท ในการสื่อความคิดรวมไปถึงจินตนาการ เพื่อตอบสนองความต้องการของตนได้เป็นอย่างดี
การอ่านและการเขียน
การอ่านหนังสือให้เด็กฟังทุกวันเป็นสิ่งจำเป็นในการให้โอกาศเด็กเรียนรู้เพื่อพัฒนาภาษาเขียน ขณะที่อ่านควรชี้นิ้วตามตัวหนังสือประกอบไปด้วย ทำให้เด็กเรียนรู้กฎเกณฑ์ทุกขั้นตอน สิ่งที่สำคัญคือ การให้เด็กเรียนรู้ที่จะเข้าใจประเด็น ในเรื่องที่อ่านว่าสิ่งที่ประกอบกันขึ้นทั้งหมดคือรวมที่จะเป็นเนื้อหาที่จะเสนอระบบการคิดผ่านไวยากรณ์ของภาษา
ควรสนทนากับเด็กเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ทางภาษาอย่างง่าย ๆ เนื้อหาที่อ่านควรสัมผัสกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัวและพยายามเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของเด็กตลอดเวลาเพื่อให้เห็นประโยชน์และความเกี่ยวพันของภาษาเขียนกับชีวิตจริงจึงได้กล่าวว่า การเขียนหมายถึงการสื่อสารเพื่อแสดงความคิดความรู้สึกออกมาอย่างมีความหมาย
ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทางภาษาแบบองค์รวม อ่าน - เขียน
- เขียนความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท่องจำตัวหนังสือผ่านการฟังนิทาน เรื่องราว สนทนา โต้ตอบ คิดเคราะห์ร่วมกับครูหรือผู้ใหญ่
-การคาดคะเน โดยการเดาในขณะเขียน - อ่านและสกดเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องอ่าน หรือสะกดถูกต้องทั้งหมด
วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
บันทึกการเข้าเรียน วันพุธ ที่ 26 พฤศจิกายน 2551
สวัสดีค่ะ วันนี้เรียนวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยซึ่งในวันนี้อาจารยืได้สอนเกี่ยวกับเรื่องการจัดประสบการณ์ทางภาษาทางธรรมชาติซึ้งมีเนื้อหาที่พอสรุปได้ดังนี้
การจัดประสบการณ์ทางภาษาธรรมชาติ
ภาษาคือ สิ่งที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาธรรมชาติ (whole language approaoh)
การสอนภาษาโดยองค์รวม
นักการศึกษาได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาโยองค์รวมไว้ว่า
โคมินิอุส
เด็กสามรถค้นพบข้อมูลใหม่ ๆ ได้ด้วยการนำเสนอด้วยสิ่งที่เด็กคุ้นเคยในชีวิตอยู่แล้ว เด็กจะเข้าใจสิ่งของที่เป็นรูปธรรมได้โดยการใช้ภาษาถิ่นหรือภาษาในชีวิตประจำวันของเด็ก
กู๊ดแมน สมิท เมอร์ริดิว
ความรู้จะเกิดขึ้นอย่างพรั่งพรูจากกระบวนการเรียนรู้และมีการพัฒนาภาษาพูด ภาษาเขียนซึ่งครูจะเห็นได้ชัดจากการที่เด็ก ๆ อาศัยภาษาสื่อในการแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีความหมายในกระบวนการเรียนรู้ทั่ว ๆ ไปของเด็กในโรงเรียน
ครูใช้ภาษาทักษะด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน แบบองค์รวมในทุกกิจกรรมในห้องเรียน เช่น การวิเคราะห์เรื่องราวต่าง ๆ การแนะแนวหลักสูตร การทำจดหมายข่าว การเขียนบทความการเขียนหนังสือต่าง ๆ เป็นต้น
จูดิท นิวแมน
การสอนภาษาโดยองค์รวมมีลักษณะเป็นปรัชญา ความคิดของผู้สอนโดยก่อตัวขั้นจากหลักการของผู้สอนนำมาบูรณาการ
นักทฤษฎี
จอนห์ ดิวอี้
การเรียนรู้ภาษาของเด็กเกิดจากประสบการณ์ตรงโดยการลงมือกระทำด้วยตนเอง
ทฤษฎีที่เป็นกุญแจสำคัญของการสะท้อนความคิดต่อการสอนของครู (reflective teaching)
ผู้เรียนต้องเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ครูผู้สอนควรบูรณาการด้านภาษาให้กลมกลืนไปกับการเรียนรู้ทุกเรื่องในหลักสูตรซึ้งสอดคล้องกับแนวคิดนักทฤษฎีต่อไปนี้
เพียเจต์
เด็กจะเรียนรู้ผ่านกิจกรรมด้วยการเคลื่อนไหวและมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างองค์ความรูด้านภายในตนเองนั้นโดยเด็กเป็นผู้กระทำ (active)ก่อให้เกิดการเรียนรู้ในการคิดด้วยตนเอง
จึงกล่าวได้ว่า การเรียนรู้ของเด็กเกิดขึ้นจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมผ่านการเล่นซึ่งช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ภาษาจากกิจกรรมร่วมกันและเป็นรายบุคคล
ไวกอตสกี
การเรียนรู้ภาษาของเด็ก เกิดขึ้นจากการมีปฏิสัมพันณ์กับบุคคลใกล้เคียง เช่น พ่อ แม่ เพื่อน ครู
บริบทหรือสิ่งต่าง ๆ รอบตัวมีอิทธิพลต่อเด็กในการช่วยเหลือลงมือทำเป็นขั้นตอนอย่างการเล่นและกิจกรรมนำไปสู่การเรียนรู้ภาษาอ่านการใช้สัญลักษณ์
ฮอลิเดย์
บริบทสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ที่หลากหลายมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และการใช้ภาษาของเด็ก
เด็กจะเป็นผู้ใช้ภาษาในการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนที่เกี่ยวข้องในการเรียนรู้ทุกสิ่งผ่านภาษา และเกี่ยวกับภาษาไปพร้อม ๆกัน
กู๊ดแมน
ภาษาเป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับชีวิตเด็ก เด็กต้องเรียนรู้ภาษาและต้องใช้ภาษาเพื่อการเรียนรู้ ดังนั้นครูจะต้องตระหนักความสำคัญกับภาษา
นอกจากนี้อาจารย์ยังมีกิจกรรมให้ทำท้ายคาบคือ ให้ทุกคนในห้องออกไปบอกว่าสิ่งที่เรารักที่สุดในร่างกายของเราคืออะไร คนละ 1 ชิ้น
สำหรับข้าพเจ้าได้ยกตัวอย่างคือ นาฬิกา เพราะ ถ้าเราไม่มีนาฬิกาเราก็จะไม่สามารถรู้เวลา ทำให้เราไม่สามารถตรงต่อเวลาได้
การจัดประสบการณ์ทางภาษาธรรมชาติ
ภาษาคือ สิ่งที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาธรรมชาติ (whole language approaoh)
การสอนภาษาโดยองค์รวม
นักการศึกษาได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาโยองค์รวมไว้ว่า
โคมินิอุส
เด็กสามรถค้นพบข้อมูลใหม่ ๆ ได้ด้วยการนำเสนอด้วยสิ่งที่เด็กคุ้นเคยในชีวิตอยู่แล้ว เด็กจะเข้าใจสิ่งของที่เป็นรูปธรรมได้โดยการใช้ภาษาถิ่นหรือภาษาในชีวิตประจำวันของเด็ก
กู๊ดแมน สมิท เมอร์ริดิว
ความรู้จะเกิดขึ้นอย่างพรั่งพรูจากกระบวนการเรียนรู้และมีการพัฒนาภาษาพูด ภาษาเขียนซึ่งครูจะเห็นได้ชัดจากการที่เด็ก ๆ อาศัยภาษาสื่อในการแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีความหมายในกระบวนการเรียนรู้ทั่ว ๆ ไปของเด็กในโรงเรียน
ครูใช้ภาษาทักษะด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน แบบองค์รวมในทุกกิจกรรมในห้องเรียน เช่น การวิเคราะห์เรื่องราวต่าง ๆ การแนะแนวหลักสูตร การทำจดหมายข่าว การเขียนบทความการเขียนหนังสือต่าง ๆ เป็นต้น
จูดิท นิวแมน
การสอนภาษาโดยองค์รวมมีลักษณะเป็นปรัชญา ความคิดของผู้สอนโดยก่อตัวขั้นจากหลักการของผู้สอนนำมาบูรณาการ
นักทฤษฎี
จอนห์ ดิวอี้
การเรียนรู้ภาษาของเด็กเกิดจากประสบการณ์ตรงโดยการลงมือกระทำด้วยตนเอง
ทฤษฎีที่เป็นกุญแจสำคัญของการสะท้อนความคิดต่อการสอนของครู (reflective teaching)
ผู้เรียนต้องเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ครูผู้สอนควรบูรณาการด้านภาษาให้กลมกลืนไปกับการเรียนรู้ทุกเรื่องในหลักสูตรซึ้งสอดคล้องกับแนวคิดนักทฤษฎีต่อไปนี้
เพียเจต์
เด็กจะเรียนรู้ผ่านกิจกรรมด้วยการเคลื่อนไหวและมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างองค์ความรูด้านภายในตนเองนั้นโดยเด็กเป็นผู้กระทำ (active)ก่อให้เกิดการเรียนรู้ในการคิดด้วยตนเอง
จึงกล่าวได้ว่า การเรียนรู้ของเด็กเกิดขึ้นจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมผ่านการเล่นซึ่งช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ภาษาจากกิจกรรมร่วมกันและเป็นรายบุคคล
ไวกอตสกี
การเรียนรู้ภาษาของเด็ก เกิดขึ้นจากการมีปฏิสัมพันณ์กับบุคคลใกล้เคียง เช่น พ่อ แม่ เพื่อน ครู
บริบทหรือสิ่งต่าง ๆ รอบตัวมีอิทธิพลต่อเด็กในการช่วยเหลือลงมือทำเป็นขั้นตอนอย่างการเล่นและกิจกรรมนำไปสู่การเรียนรู้ภาษาอ่านการใช้สัญลักษณ์
ฮอลิเดย์
บริบทสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ที่หลากหลายมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และการใช้ภาษาของเด็ก
เด็กจะเป็นผู้ใช้ภาษาในการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนที่เกี่ยวข้องในการเรียนรู้ทุกสิ่งผ่านภาษา และเกี่ยวกับภาษาไปพร้อม ๆกัน
กู๊ดแมน
ภาษาเป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับชีวิตเด็ก เด็กต้องเรียนรู้ภาษาและต้องใช้ภาษาเพื่อการเรียนรู้ ดังนั้นครูจะต้องตระหนักความสำคัญกับภาษา
นอกจากนี้อาจารย์ยังมีกิจกรรมให้ทำท้ายคาบคือ ให้ทุกคนในห้องออกไปบอกว่าสิ่งที่เรารักที่สุดในร่างกายของเราคืออะไร คนละ 1 ชิ้น
สำหรับข้าพเจ้าได้ยกตัวอย่างคือ นาฬิกา เพราะ ถ้าเราไม่มีนาฬิกาเราก็จะไม่สามารถรู้เวลา ทำให้เราไม่สามารถตรงต่อเวลาได้
วันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
บันทึกการเข้าเรียน วันที่ 19 พฤศจิกายน 2551
สวัสดีค่ะ วันนี้เข้าเรียนวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยในการเรียนในวันนี้ก็มีการจัดกิจกรรมที่สนุกสนานมากมาย คือกิจกรรมร้องเพลง อาจารย์ให้ร้องคนละ 1 เพลง และอีกกิจกรรมคือ กิจกรรมบทบาทสมมุติซึ่งอาจารย์ให้สมมุติสิ่งของของตัวเองที่คิดว่าเบื่อแล้ว และอยากจะขายโดยให้นำเสนอให้น่าสนใจที่สุด
นอกจากนี้อาจารย์ยังสอนความรู้เกี่ยวกับเพลงและพัฒนาการของเด็ก
-เพลงเป็นเทคนิควิธีใช้ในการสอนขั้นนำและสรุป
-เพลงทำให้เด็กได้ใช้ภาษา ท่าทางเพื่อการสื่อสาร
-เด็กเรียนรู้ก็ต่อเมื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
นอกจากนี้อาจารย์ยังสอนความรู้เกี่ยวกับเพลงและพัฒนาการของเด็ก
-เพลงเป็นเทคนิควิธีใช้ในการสอนขั้นนำและสรุป
-เพลงทำให้เด็กได้ใช้ภาษา ท่าทางเพื่อการสื่อสาร
-เด็กเรียนรู้ก็ต่อเมื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)